ภาพวาดระบายสี

ภาพวาดระบายสี สำหรับคนทั่วไปหรือมือใหม่ฝึกหัดวาด

ภาพวาดระบายสี

ภาพวาดระบายสี เวลาพูดถึงการวาดภาพ ส่วนใหญ่เราจะนึกถึงอุปกรณ์ ประเภท ดินสอ และพู่กัน เป็นส่วนใหญ่ น้อยคนจะนึกถึงเรื่องการ ใช้ เครื่องเขียน อย่าง วาดภาพปากกา  ในการวาดภาพ แม้จะเชื่อว่าทุกๆ คนเคยใช้ ปากกา ประจำตัว วาดรูปลงในสมุดหรือหนังสือเรียนเล่น ระหว่างเกิดอาการเบื่อๆ เซ็งๆ เวลาครูสอน แต่ถ้าพูดถึงการวาดภาพที่จริงจัง กลับไม่ค่อยมีใครนึกถึง ปากกา กันสักเท่าไหร่ ทั้งนี้เนื่องจากส่วนใหญ่จะรู้สึกว่า มันเป็นอุปกรณ์ที่ไม่ง่าย ในการลากเส้นให้ได้ ขนาดตามที่เราต้องการ เหมือนการวาดด้วยดินสอ ที่เราสามารถปรับขนาด ความหนาความเข้มความอ่อนของเส้นได้ ตามน้ำหนักกดของมือ โดยเฉพาะเรื่องการแรงเงา ที่ ปากกา ทำไม่ได้ ทำให้ดูเหมือนมันไม่เหมาะ ในการใช้วาดภาพ และหลายๆ คนก็คงคิดว่า ก็มันถูกออกแบบมา สำหรับการเขียนหนังสือ ! จะไปเอามันมาวาดทำไม !? อะไรทำนองนี้… แต่อย่างไรก็ตาม ปากกา เป็นอุปกรณ์ที่ เราสามารถใช้วาดได้ หากรู้วิธี !

การใช้ ปากกา ในการวาดภาพ หลายคนอาจจะคิดถึง ปากกาคอแร้ง แบบที่เขานิยมเอาไว้ตัดเส้น หรือวาดการ์ตูนเพื่อให้ได้เส้นที่คม แต่นั่นก็ยิ่งเป็นเรื่องยาก สำหรับคนทั่วไปหรือมือใหม่ฝึกหัดวาด เพราะมันให้ความรู้สึก ที่แตกต่างอย่างมากกับการวาดด้วย ดินสอแบบที่คุ้นชินกันมา ราคาก็ค่อนข้างสูง หากเทียบกับปากกา ลูกลื่นด้ามไม่กี่บาท ที่หาซื้อได้ทั่วไป และยังเขียนยาก ! หมึกเลอะง่าย ต้องคอยจุ่มหมึกตลอด แต่แน่นอนว่าหากใช้ได้ ก็ได้เส้นที่คมชัดสวยงาม แต่คราวนี้ เราจะพูดกันถึงเฉพาะ เรื่องการวาดแบบมือใหม่เริ่มต้น วาดกันแบบง่ายๆ ใช้ ปากกา แบบลูกลื่นที่หาซื้อ ได้ตามร้านในซอย หรือหน้าโรงเรียน และเราจะใช้มันในฐานะอุปกรณ์วาดรูปแบบ เดียวกับดินสอที่ทำให้เกิด เส้นแบบแรเงาอ่อนเข้มให้ภาพดูมิติได้

การวาดภาพ ด้วยปากกาลูกลื่น หากต้องการให้ ได้เส้นที่มีน้ำหนัก เหมือนการแรเงาของดินสอ เราจะใช้วิธีลากเส้น ตัดกันไปมา และหากต้องการแนว ที่เหมือนการแรเงาที่มีการไล่น้ำหนักเข้มอ่อน เราก็สามารถทำได้ โดยการใช้เทคนิคลากเส้นตัดกันไปมานี่เอง เพียงแต่ส่วนที่เป็นเงา เข้มก็ใช้เส้นตัดที่มีความถี่ ตรงไหนต้องการแรเงาบางๆ ไล่โทนไปก็ใช้เส้นตัดที่มีความห่าง ส่วนการย้ำเส้นหนัก ก็ใช้วิธีการลากเส้นซ้ำๆ ให้เกิดความหนาและเข้ม ที่สำคัญอย่ากดแรง อย่าเผลอนึกว่าเป็นดินสอ ปากกา มีวิธีการวาดในแบบของมัน แต่เราสามารถทำให้ออก มาดูสวยและมีมิติเหมือน การแรเงาที่วาดด้วยดินสอได้

ปากกาที่ใช้วาดภาพ

1.Pigma
เป็นปากกาเคมี หัวสักหลาด มีหลายเบอร์
แต่เวลาวาด ถ้าไม่ใช้เบอร์เดียว ไปเลยก็มักจะใช้หลายเบอร์ปนกัน
ได้แก่ 005 01 03 และ 05 ค่ะ ส่วนเส้นกรอบก็ 08
ยี่ห้อที่นิยมใช้กันก็ Sakura pigma,Copic,Steadler,faber castell,Artline
เป็นต้น แต่ยี่ห้อที่พี่คิดว่าเหมาะสำหรับ การวาดคอมิคที่สุดก็คือ
Copic ค่ะ เพราะลบแล้วเส้นไม่ค่อยจาง และเส้นคงที่กว่ายี่ห้ออื่นๆ
แต่ที่พี่ใช้บ่อยคือ Sakura pigma micron เพราะหาซื้อง่าย
ยี่ห้ออื่นๆที่เคยใช้แล้วดีก็เช่น unipin

2.Roller point,Ball point pen
อันนี้ก็คือปากกาหัวบอล ที่หัวมันจะแข็งๆ
คือข้อดีของหัวบอล หัวมันจะไม่ยุบเวลาวาด
ไม่มีปัญหาสำหรับ คนมือหนักๆ มีหลายเบอร์ให้เลือก
นอกจากนี้ยังเส้น ตามน้ำหนักมือ(บางอัน)
ยกตัวอย่างเช่น Pilot G tech,Uni pin เป็นต้น

3.ปากกาจุ่มหมึก
พวกปากกาจุ่มหมึกเวลาซื้อมาจะมีแต่หัว
เราต้องไปหาซื้อด้ามจับมาเองต่างหาก
ด้ามจับสำหรับ หัวปากกาพวกนี้ ถ้าเป็นแบบโดยเฉพาะจริงๆ
ก็ค่อนข้างแพง ประมาณ 150-200 แต่ถ้าไม่ถือ
เอาแบบสิบบาทก็เสียบได้ (แต่มันไม่ค่อยแน่น)
G pen-ให้นำหนักเส้นที่ดี ถ้าใช้เป็น คล่อง เส้นจะสวยมาก
แต่ว่าเวลาใช้ไปนานๆ หัวก็เจ๊งต้องเปลี่ยนใหม่
Maru Pen-ปากกาหัวกลม เส้นจะเล็กกว่าหัวจีเพน
แต่ข้อเสียคือเป็นสนิมง่ายมาก เจ๊งเร็วกว่า…..
แล้วก็หมึกถ้าเราซื้อหมึก ที่ใช้วาดโดยเฉพาะความเข้มข้นจะดีกว่า
แต่เอาแบบถูกๆก็คาเมล แต่มันแห้งและข้นเร็ว ต้องรีบใช้ให้หมด
ปากกาจุ่มหมึกและอุปกรณ์ วาดการ์ตูนนี่ซื้อได้ที่สยามมาร์เกตติ้ง
ยี่ห้อ Nikko,Zebra เป็นต้น

ภาพระบายสีด้วยนิ้วมือแทนพู่กัน

ก่อนปี 2540 ผมเคยไปดูภาพเขียน ด้วยนิ้วมือของศิลปิน ไทยท่านหนึ่ง หลงใหลในความไหวพริ้ว ของงานศิลปะนั้นมาก การแสดงครั้งนั้น ได้รับการสนับสนุนจาก บริษัทหลักทรัพย์แถวถนนสาทร ยังจำบรรยากาศ ของงานแสดงได้ติดตา อาจเป็นเพราะว่าไม่ใช่ งานที่คุ้นตามาก่อน

หลังจากดูงานศิลปะ ที่วาดด้วยนิ้วมือแล้ว ผมจึงทดลองทำบ้างโดย ลองผิดลองถูก ใช้สีน้ำมันระดับนักเรียน มีอยู่ยี่ห้อเดียวเท่านั้นที่นักวาด รูปสมัยนั้นใช้กัน สีพวกนี้ สีสด จับใจ บางสีแตะตรงไหนก็สว่างไสวตรงนั้น

การวาดด้วยสีน้ำมัน สวมใช้ถุงมือบางๆ เสร็จแล้วก็บรรเลงได้เลย ง่ายมากมีแค่เฟรมผ้าใบ สี และนิ้วมือ หรืออาจใช้น้ำมันผสมสีบ้าง ไม่ต้องคิดมา เพียงแต่กล้าๆ หน่อย ใช้นิ้วชี้แทนพู่กัน ผสมสี ระบายสี อย่าเสียดายสี เดี๋ยวก็เป็นรูปเป็นร่างสมใจนึก

ก่อนวันตรุษจีน ผมได้รื้อข้าวของ ทำความสะอาด จัดเก็บให้เป็นที่เป็นทาง รวมทั้งภาพเก่าๆที่วาดด้วยนิ้วมือ จึงขอใช้โอกาสนี้ เอาภาพที่เคยวาดไว้ เมื่อ 10 กว่าปีมาแล้ว มาลงครับ

ข้อแนะนำและเทคนิค
1.  ควรใช้พู่กันระบายสี ไปในทิศทางเดียวกัน เช่น ถ้าเริ่มต้นระบายสี จากซ้ายไปขวา ก็ให้ระบายสี จากซ้ายไปขวาในช่องภาพนั้น ๆ  อย่าระบายสีสลับซ้าย-ขวาไปมา หรือขยี้พู่กัน เพราะจะทำให้ขนของ พู่กันมีอายุการใช้งานสั้นลง
  2.  ไม่ควรตั้งพู่กันแช่น้ำ อยู่เป็นเวลานาน เพราะจะทำให้ขนของพู่กัน กระจายออกจากกัน มีผลให้การระบายสี ในช่องภาพวาดลายเส้น ทำยากขึ้น เพราะขนของพู่กันที่กระจายออก จะทำให้สีไปเปื้อนในช่องภาพอื่น โดยเฉพาะการระบายสีในภาพที่มี ช่องขนาดเล็ก
  3.  ควรระบายสีจากมุม ใดมุมหนึ่งของภาพ เช่น ระบายสีจากบนลงล่าง เป็นการช่วยไม่ให้ มือหรือแขนของผู้วาดไปทำให้สีที่ ลงไว้แล้วเสียหาย เนื่องจากเหงื่อ หรือน้ำมันจากผิวหนัง
4. หากระบายสีผิดช่อง แก้ไขด้วยการระบายสี ที่ถูกทับลงไปในช่องนั้นๆ ได้เลย
5. การเก็บพู่กัน ให้ตั้ง ปลายของพู่กันขึ้น เพื่อไม่ให้ขนของพู่กันเสียหาย ufabet.win
6. เมื่อต้องการทราบว่า สีที่ระบายลงไปเต็มช่อง ภาพหรือไม่ ทำได้โดย ยกเฟรมของภาพ ขึ้นมองกับแสงสว่างด้านหลัง  ถ้าสีที่ลงไม่เต็มช่องภาพ ผู้วาดจะเห็นช่องสีขาวเล็ก ๆ ซึ่งก็คือพื้นผิวของ ผ้าใบกระจายอยู่ ให้ระบายสีซ้ำลงไปอีกครั้ง
7. กรณีที่ไม่ต้องการนำภาพที่ วาดเสร็จแล้วไปใส่กรอบใหม่ คือ ใช้เฟรมที่ให้มาเป็นกรอบ ของภาพเพื่อนำไปตกแต่งบ้านหรือที่ทำงาน  ขณะวาดควรระบายสี ที่ด้านข้างของเฟรมทั้ง 4 ด้านไปพร้อมกันเลย
ติดตามบทความ วาดภาพ เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซค์ของเรา